วิธีเพาะเห็ดในโอ่ง พื้นที่จำกัดก็ทำได้ ไม่ต้องมีโรงเรือน – แนวทางเกษตรเกร็ดความรู้

สิ่งที่จะต้ อ งเตรียม

1.โอ่ งที่ไม่ใช้แล้ว ขนาดเท่าไห ร่ก็ได้เท่าที่คุณจ ะมีเลย

2. เ ชื้ อ เ ห็ ด ถุ ง เห็ดอะ ไรก็ได้ตามที่ต้องการ

3.กระสอบป่าน

4.ไ ม้ไ ผ่ ตีเป็นตะแก รง ให้มีขนาดพอดีกับโอ่ง

5.ฐานรองโ อ่ง อาจใช้ย า งรถยนต์เก่าก็ประหยัดดี

6.ทรา ยสำหรับรอง พื้นโอ่ง

7.เชื อกฟาง

8.บัวรดน้ำ

ขั้นตอนการทำ

1.ทำการจั ดวางโอ่งโดยหาฐานรองมาตั้งไว้ก่ อน จากนั้นค่อยเอาโอ่งมาวางเรียงกัน แบบ ตะแคง โดยวางให้ดีอ ย่ าให้โอ่งกลิ้งไปมาแ ล ะค วร จ ะให้มีอากาศถ่ า ยเทส ะดวกดีด้วย

2.ต่อด้ ว ยการเทท รา ยมา รองพื้นในโอ่งเอาไว้ โดยให้มีความหนาสัก 3 นิ้ว

3.ต่อไปก็เอา ตะแกรงไม้ไผ่มาวางไว้ด้านบ น เพื่อที่จะให้เป็นแท่นวางก้อน เ ชื้ อ เ ห็ ด ก็ทำ การจัดวางก้อนเห็ ดใ ห้เต็มเล ย อย่ าลืมเปิดจุกก้อน เ ชื้ อ เ ห็ ด ด้านบนออกเป็นกระ จำด้วย

4.ต่อไปก็ปิดโอ่งด้วยกระสอบป่า น หรือตาข่ ายก็ได้ เพื่อเป็นการพ รางแสง แล้วเอาเชือ กฟางมายืดเอาไว้ มั ดให้แน่นเลย โดยให้ชายกระ ส อบ นั้นเปิดขึ้นลงได้ เพื่อจะเปิดรดน้ำได้สะดวก

5.ต่อ ไปก็คอยรดน้ำในทุ กเช้า กลางวัน เย็น หากรู้ว่าเ ห็ ดแห้ งมากไปก็ใ ห้เอากระบอก ฉี ดน้ำมาพ่นข้างในโอ่งเลย จะได้ให้มีความชื้น

6.ใน ร ะย ะเวลาประมาณ 7 – 10 วัน ด อ ก เ ห็ ด ก็จะเริ่มออกได้อย่ างเต็มที่ เพียงเท่านั้นก็จะได้เก็บ เ ห็ ด มาทานได้แล้ว และจะใช้ระยะเวลาประมาณ 1 – 3 เดือนจะออกจนหมด

การดูแ ลรั กษ าเห็ดโอ่ง

1.ข้อระวัง น้ำที่ใช้รดเห็ดจะต้องเป็นน้ำจืด ไม่มีคลอ รีน เจือปน ไม่เป็นน้ำกร่อย น้ำเค็ม ระวังน้ำเค็ม ไม่สามารถจ ะ ใช้รดเห็ดได้ เพรา ะเห็ดจะไม่ออกดอก

2.เห็ดแต่ละชนิดต้ องก ารอุณห ภูมิที่เหมาะ สมในการผลิตดอกเห็ดไ ม่เหมือนกัน เห็ดนางรม เ ห็ ด เป๋าฮื้อ และเห็ดหูหนู ต้องการอุณหภูมิธรรมด าในช่วงฤดูร้ อ นหรือฤ ดูฝน ส่วน เ ห็ ด นางฟ้า และเห็ดหอม  ต้องก า ร อุ ณ ห ภู มิ ค่ อน ข้า งเ ย็ น

สำหรับน้ำที่ใช้ร ดนั้นควรจะ เป็นน้ำสะอาด น้ำจืด ไม่มีคลอรีน ไม่ควรจะใช้น้ำกร่อยและ น้ำเค็ม เพราะหากไม่ระวังจะทำให้เห็ ดออกได้ เพียงเท่านี้เราก็มี ด อ ก เห็ดไว้เก็บม าทานกันแล้ว หรือหา กมีเยอะก็สามารถเก็บขายได้เห มือนกัน หรือจะแบ่งเ พื่อ นบ้านอีก ด้ว ย

Visited 29 times, 1 visit(s) today

เรื่องราวเพิ่มเติม

ปลูกผักพายน้อยจากเมล็ด สร้างงานทำเงินให้เกษตรกร – แนวทางเกษตรเกร็ดความรู้

ทักทายสมาชิกผู้ …

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *