เห็ดเ ผ าะเป็นเห็ดที่ถือว่าราคาขายค่อนข้างสูงมาก เพราะมีรสชาตดี กรุบกรอบ ไม่ว่าจะใช่ต้มทานกับน้ำพริก ส้มตำหรือแ ก ง ก็อร่อยเป็ นที่นิยมมาก ส่วนใหญ่เ ห็ ดเหล่านี้จะขึ้นตามป่าดิบชื้น ในช่วงฤดูที่มี เ ห็ ด เ ผ าะนั้นจะเป็นฤดูฝน ชาวบ้านจะไปหาเห็ดตามป่าเพื่อมาบริโภคหรือจำหน่ายกันอย่ า งคึงกคักเลยทีเดียว แต่ในการหาแต่ละครั้งค่อนข้างลำบากเพราะต้องใช้อุปกรณ์ในการเขี่ยหาตามน่าดินและเดินเข้าไปในป่าลึก นี้ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่เห็ดที่ได้มาค่อนข้างที่จะแพงเช่นกัน วันนี้เราจะไม่ต้องไปหาเห็ดเ ผ าะในกลางป่าไกลๆ อีกต่อไปเพราะเราจะนำวิธีการเพาะเห็ดเ ผ าะกับต้นย า งนามาให้ลองทำกันดู ต้นไม้ที่สามารถเพาะเห็ดได้มีมากมายหลายชนิด เช่น ย า งนา เต็ง รัง ไม้แดง ไม้มะค่า ไม้พะยูง ไม้ประดู่ ยกเว้นต้นไผ่ ต้นยูคาลิปตัสที่เห็ดเ ผ าะจะไม่ขึ้นครับ มาดูขั้นตอนการทำกันครับ
สิ่งที่ต้องเตรียม
1.เห็ดเผาะที่แก่จัด มีเ ชื้ อส ป อ ร์
2.น้ำสะอาด
3.เครื่องปั่น
4.ต้นกล้าย า งนาหรือต้นกล้าไม้ชนิดอื่นๆ ก็ได้
5.ขวดพลาสติกสำหรับใส่เ ชื้ อเห็ด
ขั้นตอนการทำ
1.นำเห็ดเ ผ าะที่แก่จัดและมีส ป อ ร์ ใส่ลงไปในเครื่องปั่น เติมน้ำลงไปให้ปริ่มพ้นระดับของเห็ดเล็กน้อย ปริมาณของเห็ดที่ใช้สามารถใช้ได้ไม่จำกัดไม่ว่าจะมากจะน้อยขึ้นอยู่กับการหาเห็ดที่จะมาทำได้ เพราะถ้าปริมาณเ ชื้ อเห็ดที่มาก ความหนาแน่นที่ไปเกาะที่รากของต้นไม้ก็ยิ่งมากไปด้วย โอกาสที่เห็ดจะงอกในปริมาณมากๆ ก็มีสูงครับ
2.ทำการปั่นจนเห็ดเ ผ าะจนละเอียด
3.จากนั้นนำเห็ดเ ผ าะที่ปั่นแล้วกรองลงขวดพลาสติกขนาด 1.5 ลิตร
4.เศษ เ ห็ ดที่เหลื อติดในเครื่องปั่นก็ใช้น้ำล้างด้วยน้ำแล้วเทลงไปในขวดจนเต็มครับ
5.จากนั้นนำเ ชื้ อเ ห็ ดที่ได้ไปเทผสมกับน้ำ ปริมาณน้ำ 5 ลิตรต่อเ ชื้ อเห็ด 1/2 ขวด
6.ทำการคนให้ส่วนผสมล ะ ล า ยเข้ากันครับ
7.ก าก เ ห็ ด ที่เหลือไม่ทิ้งครับ เราจะนำมาผสมลงในน้ำด้วยเช่นกัน
8.จากนั้นสามารถนำไปรดต้นกล้าย างนาครับ ประโยชน์ที่ได้คือเ ชื้ อเห็ดจะมี แ บ ค ที เ รี ยชื่อ ไมโคราซ่า ซึ่งจะนอกจากจะได้เห็ดไว้ทานแล้ว ยังจะช่วยให้รากต้น ย า ง นาแข็งแรง หาอาหารได้เก่งครับ เจริญเติบโตได้ดี
จำนวนครั้งในการรด ไม่จำกัดครับให้รดเป็นประจำ ถ้าเรามีเ ชื้ อเห็ดมากพอและการที่จะนำต้นย า งนาไปปลูกนั้น ต้องทิ้งไว้ให้ผ่านไป 1 สัปดาห์ เพื่อให้เ ชื้ อเห็ดกระจายให้ทั่วถุงชำและเกาะรากให้มากที่สุด ไม่ว่าต้นไม้จะอ า ยุ มากเท่าไหร่เห็ดก็ยังจะออกเป็นประจำทุกปีจนกว่าต้นไม้จะไม่มีชีวิตแล้วครับ
ที่มา https://วิถีชีวิตเกษตรพอเพียง.com