การเตรียมดิน
กะหล่ำดอ ก ชอบดินที่มี ค่ า พี เ อ ชประมาณ 6-6.8 ในก า ร เ ตรียมดิน เตรียมเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ใช้เพาะกล้าขุดลึกประมาณ 15 เซนติเมตร แปลงปลูกขุดพลิกดินลึก 20 เซนติเมตร พลังจากขุดพลิกแล้ว ต า กดินประมาณ 7-10 วัน เก็บวั ช พื ช ให้เกลี้ยง พรวนดินให้ก้อนเล็ก ใส่ปุ๋ยคอ กหรือปุ๋ ยอินทรีย์ที่ย่ อยสลายดีแล้ว ลงไปคลุกเคล้าไปทั่ว
การเพาะกล้า
กะหล่ำดอก เป็นผักที่มีทรงพุ่มใหญ่ การปลูกแต่ละต้นจึงต้องใช้ระยะที่ห่างพอสมควร ดังนั้นจึงควรเพาะกล้ า เ สี ย ก่อนแล้วจึงย้ายไปปลูกในแปลงปลูกจริง เพื่อจะได้ประหยัด เ มล็ ด พันธุ์ ประหยัดปุ๋ ยและเวลาในการดูแลในช่วงที่อยู่ในระยะต้นกล้าแปลงเพาะขนาด 5-10 ตารางเมตร ใช้เ ม ล็ ด พั น ธุ์ 100-150 กรัม สำหรับแปลงปลูกขนาด 1 ไร่ หากเกษตรกรต้องการปลูกในเนื้อที่จริงเท่าไรก็คำนว ณล ดเ พิ่มจาก อัตราส่ วนดั งก ล่ าว
และเนื่องจากกะหล่ำดอกชอบอากาศค่อนข้างเย็น เพราะฉะนั้นอุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการงอกของเมล็ดจึงอยู่ประมาณช่วง 7.2-29.4 องศาเซลเซียส
วิธีปลูก
หลังจากกล้ามี อ า ยุ ได้ประมาณ 25-30 วัน หรือเมื่อต้นสูงประมาณ 1 คืบ ก็ถอน ย้ า ยปลูกในแปลงปลูกได้ การถอนกล้าที่จะปลูกอาจจะถอนไว้ในตอนเช้าก่อนแดดจัด แล้วเอาใส่เข่งเอาผ้าชุบน้ำคลุมไว้ในที่ร่ม หรือหากมีแ รง ง า น มากจะถอนกล้า แล้วนำมาปลูกเลยในตอนเย็นประมาณบ่าย 3-4 โมงเย็นก็ได้ กล้าที่ถอนจะต้องปลูกให้หมดในวันนั้น ไม่ควรทิ้งไว้ข้ามคืน ต้นที่ไม่แข็งแ ร ง หรือ เป็นโ ร คไม่ ค วร นำมาปลูก วิธีปลูกคือใช้นิ้วชี้ขุดดินตรงจุดที่จะปลูกเป็นรูปักต้นกล้าลงไป กดดินโคนต้นให้พออยู่ไม่ถึงกับแน่น ระยะปลูกระหว่างต้นห่าง 50 เซนติเมตร ระหว่างแถวห่าง 60 เซนติเมตร หลังจากปลูกเสร็จแล้วเอาฟางคลุมบาง ๆ เพื่อให้ต้นกล้าตั้งตัว ได้เร็วขึ้น และช่วยเก็บรั ก ษ า ความชื้นในดิน รดน้ำให้ชุ่ม
หลังจากปลูกแล้ว เมื่อ พ บ ต้นกล้า ต ๅย ให้สังเกตดูอาการด้วยว่าต ๅ ย เ พ ร า ะ เ ชื้ อ โรคหรือเปล่า หากพบว่าเป็น โ ร ค เ พ ร า ะ เ ชื้ อ ร า เมื่อถอนต้นไป ทำ ล า ย ทิ้งแล้วให้
ใช้ ย า ป้อ ง กัน กำ จั ดเ ชื้ อ ร า รดลงไปในบริเวณนั้น หากต ๅ ยเพราะสาเหตุธรร ม ดาก็ปลูก กล้าใหม่ลง ซ่ อ ม ในบริเวณนั้นได้
การให้น้ำ
ในระยะตั้งตัวของระบบร า ก ใหม่ๆ หลังการย้ายปลูก ไม่ต้องการใช้น้ำมากนัก เพียงให้ดินมีความชุ่มชื้นสม่ำเสมออย่างเพียงพอก็พอ สังเกตดูว่าดินแ ฉะ เกินไปหรือ เปล่า ถ้าแ ฉ ะเกินไปก็ลดปริมาณน้ำที่รดแต่ละครั้งให้น้อยลง เพราะถ้าแฉะ เ กิ นไป จะทำให้ต้นผักเกิดโ ร ค เ น่ า เละได้ง่าย การให้น้ำให้วันละ 2 เวลา เช้า-เย็น เมื่อผักโตขึ้นก็ต้องการน้ำมากขึ้นเพราะมีการระเหยน้ำอย่างรวดเร็ว ช่วงที่เกิดดอกจะขาดน้ำไม่ได้และต้องการ น้ำ มากขึ้นเพื่อให้การเจริญเติบโตของดอกเป็นไปอย่าง สม่ำเสม อ และได้ดอกที่สมบูรณ์
การปฏิบัติดูแล
เพื่อให้ได้ดอกที่มีคุณภาพดีตรงตามความต้อง การของตลาด ในช่วงเกิดดอกนอกจากดูแลเรื่องแมລงซึ่งจะรบกวนดอกกะหล่ำและทำความเสียหายให้มาก หากปล่อ ยให้เกิดการทำ ล า ย แก่ ดอกกะหล่ำได้ จึงควรมีการฉีดย าป้ อ ง กัน กำ จั ด ในช่วงเกิดดอกระยะแรก ๆ เพราะเมื่อดอกมีขนาดใหญ่ขึ้นใบจะโน้มบังดอก ทำให้ก ารฉี ด พ่ น ย า รั กษาดอก ไม่ไ ด้ผล
เมื่อดอกมีเส้นผ่ าศูนย์กลางประมาณ 5-7.5 เซนติเมตร ช่วยรวบปลายใบ ผูกเชือกไว้หลวม ๆ คลุมดอกไว้ดอกจะขาว ถ้าปล่อยให้โดนแ ด ดมาก ๆ ดอกจะออกเหลืองซึ่งขายได้ราคาไม่ดี สำหรับพัน ธุ์ใหม่ที่มีลักษณะใบคลุมด อกเองโดยธรรมชาติก็ไม่จำเป็นต้องรวบใบมาผูกไว้
การใส่ปุ๋ ย
ปุ๋ ยที่ ใส่แ บ่ ง เป็น 2 ช่วง คือ ปุ๋ยรองพื้นกับปุ๋ ย แต่งหน้า
1. ปุ๋ ยรอ งพื้น ใส่ก่อนปลูกต้นกล้า ในตอนเตรียมดินใส่ปุ๋ ยขี้ เป็ ดผสม ก า กถั่วหรือปุ๋ยอิ น ทรี ย์ในอัตรา 300 กก./ไร่
2.ปุ๋ ยแต่งหน้า ใส่ปุ๋ยสูตร 12-18-8 หลังจากย้ ายปลูกได้ 2 สัปดาห์ ในอัตรา 200 กก./ไร่ สำหรับ ช่วง ที่ออก ดอกใส่ ปุ๋ย ที่มี P ม ากกว่า N
ที่มา thaikasetsart