เกษตรทฤษฎีใหม่+ตำราอิสราเอล พื้นที่ 1 ไร่ สามารถสร้างรายได้ถึง 6 แสน – แนวทางเกษตรเกร็ดความรู้

เกษตรกรรุ่นใหม่ กับการตั้งคำถามกับตัวเองว่า ทำเกษตรทำไมจะรวยไม่ได้ นี่เป็นคำกล่าวของ พงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์ เรียนจบจาก ม.แม่โจ้ คะณะเกษตร โดยตั้งแต่จบมาก็ไม่ทำงานที่ไหนเลย จนเพื่อนมองว่า เขา บ้ า  แต่เขาเลือกที่จะเป็นเกษตรกร อีกทั้งพืนที่นาที่เขาทำนั้น เป็นพื้นที่ แ ห้ ง แ ล้ ง แต่เขาก็มีความเชื่อว่า เป็นไปได้ และต้องสำเร็จ

เพราะว่าเขานั้น มีประสบการณ์ จากการเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน กับ ปะเทศอิสราเอล และยังนำแนวความคิดของการทำเกษตรแบบผสมผสาน ของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาประยุกต์ใช้ โดยใช้ใช้พื้นที่ 7 ไร่ ในการปลูกพืชผัก

โดย เขากล่าวว่า ส่วนใหญ่ในพื้นที่บริเวณนี้มักจะเป็นพื้นที่ แ ห้ ง แ ล้ ง  ปลูกอะไรไม่ค่อยได้ผล เขาจึงได้นำเทคโนโลยี จากการที่ได้ไปเรียนที่อิสราเอล มาปรับใช้ในพื้นที่ตัวเอง จนทำให้ดินบริเวณนั้น สามารถปลูกพืชได้อย่างปกติ
เริ่มจาก บำรุงดิน นำแกลบดิบ ปุย ห มั ก ปุย ค อ ก อย่างละ 1 ส่วน ผสมกับดิน 2 ส่วน ราดด้วยน้ำ ห มั ก ครึ่งลิตร ทำให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 1 เดือน

เมื่อดินเริ่มดีขึ้น ก็ทำระบบน้ำ โดยแนวคิดที่ว่า ปลูกพืชด้วยการใช้น้ำน้อย จนได้ออกแบบระบบน้ำขึ้นมา 3 ระบบ นั่นคือ

1.ระบบน้ำหยดให้ปุยพร้อมกับน้ำ

2.ระบบน้ำพุ่ง

3.ระบบให้น้ำแบบไอหมอก

เมื่อได้ระบบน้ำ ก็เริ่มเลี้ยง สั ต ว์  เกือบทุกชนิด ตามแนวทาง เกษตรทฤษฎีใหม่ ของในหลวงรัชกาลที่ 9 หลังจากที่เขาลองผิดลอง ก็ได้สูตรสำเร็จ คือ การปลูกพืชผักสวนครัว ที่เก็บผลผลิตได้ทั้งปี และสามารถส่งขายได้ทุกวัน

พบว่ามีข้อดี คือ มีรายรับ และรายจ่าย หมุนเวียนตลอดทั้งปี

แต่เนื่องจาก เขาเป็นคนที่พัฒนา และต่อยอด ไอเดีย ของตัวเองอยู่ตลอดเวลา รวมถึงมีองค์ความรู้จากแหล่งต่างๆ มีประสบการ์ที่มากขึ้น และยังปฏิบัติตามแนวทาง เกษตรทฤษฎีใหม่ ของในหลวงรัชกาลที่ 9 จึงทำให้ พงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์ กลายเป็นเจ้าของพืชผัก อินทรีย์ถึง 3 แบรนด์ ส่งขายตาม ห้างสรรพสินค้าชั้นนำทั่วประเทศ

ซึ่ง พงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์ ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า การปลูกพืชผักในพื้นที่ 1 ไร่ สามารถสร้างรายได้ ได้จริง โดยเขายังบอกอีกว่า ได้เงินปีละกว่า 600,000 บาท

โดยมีแนวคิดว่า คิดเป็น ทำเป็น ทำจริง

เรียบเรียง me-panya

Visited 22 times, 1 visit(s) today

เรื่องราวเพิ่มเติม

ปลูกผักพายน้อยจากเมล็ด สร้างงานทำเงินให้เกษตรกร – แนวทางเกษตรเกร็ดความรู้

ทักทายสมาชิกผู้ …

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *